เรณู วิชาศิลป์
Renoo Wichasin (E-mail: renoowi@gmail.com)
ตำแหน่งและหน้าที่ (Position)
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำสำนักส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ประวัติการศึกษา (Education)
2529 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
2512 การศึกษาบัณฑิต วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน (มหาวิทยาลัยบูรพาในปัจจุบัน)
ความเชี่ยวชาญ (Specialization)
ล้านนาศึกษา
ไทศึกษา
ผลงานตีพิมพ์ (Publications)
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, เรณู วิชาศิลป์, นงนุช จันทรภัย, และ เรณู อรรฐาเมศร์. (2534). เมืองนุนสุนคำ. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.
Terwiel and Ranoo Wichasin. (1992). Tai Ahoms and the Stars. Three Ritual Texts to Ward Off Danger. New York: Cornell Southeast Asia Program.
เรณู วิชาศิลป์. (2539). พงศาวดารไทอาหม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.
ฉลาดชาย รมิตานนท์, วิระดา สมสวัสดิ์ และ เรณู วิชาศิลป์. (2541). ไท ไต Tai. เชียงใหม่ : ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เรณู วิชาศิลป์. (2543). เอกสารประกอบการสอน ภาษาและอักษรล้านนา. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เรณู วิชาศิลป์ (ปริวรรต-แปล). (2544). เชื้อเครือเจ้าแสนหวีสิบสองพันนา. เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม.
เรณู วิชาศิลป์. (2548). เอกสารประกอบการสอน การศึกษาอักษรและเอกสารโบราณของไท (2548). ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เรณู วิชาศิลป์. (2550). พื้นเมืองแสนหวี ฉบับหอคำเมืองไหญ. เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม.
Volker Grabowsky and Renoo Wichasin. (2008). Chronicles of Chiang Khaeng. A Tai Lü Principality of the Upper Mekong. Hawaii: Center for Southeast Asian Studies, University of Hawaii.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และ เรณู วิชาศิลป์. (2552). การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์
Foon Ming Liew-Herres, Volker Grabowsky and Renoo Wichasin. (2012). Chronicle of Sipsong Panna: History and Society of a Tai Lü Kingdom, Twelfth to Twentieth Century. Chiang Mai: Mekong Press.
เรณู วิชาศิลป์. (2564). อักขรวิธีพิเศษในเอกสารโบราณของไท. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
รางวัลและเกียรติประวัติที่ได้รับการยกย่อง (Awards and Honorable Awards)
ครูภาษาไทยดีเด่น ระดับอุดมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ (2539) คุรุสภา
ผลงานวิจัยดีเยี่ยม สาขาปรัชญา เรื่อง พงศาวดารไทอาหม (2542) จาก สภาวิจัยแห่งชาติ
ศิษย์เก่าดีเด่น ประเภทผู้ส่งเสริมการศึกษาวิชาการ (2546) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
Special Award of Excellence. (2556) จาก Tai Ahom Development Council, Government of Assam, India.
ผู้มีคุณูปการต่อการใช้ภาษาไทย (2557) จาก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร (อนุมัติเมื่อ 15 มิถุนายน 2565)